วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เรียนสัปดาห์ที่ 5

เรียนครั้งที่  5

วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี 14 มิถุนายน 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13:10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40 น.

สิ่งที่ได้รับจากการเรียน


จะนำเสนองานต่อจากสัปดาห์ที่แล้วของกลุ่มที่ยังไม่นำสนอแลว อาจารย์ก็สอน
องค์ประกอบของภาษา
1.  Phonology เสียง  -ระบบสียงของภาษา
                                -เสียงที่มนุษย์ปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมาย
                                - หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเปนคำในภาษา
2. Semantic  ความหมายของภาษาและคำศัพท์
- คือความหมายของคภาษาและคำศัพท์
-คำศัพท์บางคำสามารถมีได้หลายควมหมาย
-ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำศัพท์ต่างกัน
 3. Syntex  ไวยากรณ์ของภาษา
- คือระบบไวยากรณ์
-การเรียงรูปประโยค
4. Pragmatic การนำภาษาไปใช้
- คือระบบการนำไปใช้
-ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์แลกาลเทศะ
แนวคิดนักการศึกษา
1. แนวคิของกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฏี  Skinner
 -สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา
-ให้ความสำคัญกับสิ่งราแลการตอบสนอง
 Jone B.watson
-ทฤษฏีการวางงื่อนไขแบบคลาสสิค
-การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเดกเปนสิ่งที่สามารถกระทำไดและผูใหญ่สามารถจะวางงื่อนไขใหเด็กเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ไดทุกพฤติกรรม
สรุปแนวคินักพฤติกรรมนิยม  เชื่อว่า
-ภาษาเปนกระบวนการภายในของมนุษย์
-การเรียนภาษาเปนผลจากการปรับพฤติกรรมโดยสิ่งแวดล้อม
-เด็กเกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาาา
-เดกจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรม เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบตัว
-เมื่อไรับแรงเสริมจะทำให้เด็กลือนแบบตัวแบบมากขึน
2. แนวคิดกลุ่มพัฒนาทางสติปัญญา
Piaget
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฏฺสัมพันธ์กับสิ่งแวล้อม
-ภาษาเปนสิ่งที่แสดงให้เห็นระดับพัฒนาการสติปัญญา
Vygotsky
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
-สังคม บุคคลรอบข้าง มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
-เนนบทบาทของผู้ใหญ่
-ผู้ใหญ่ช่วยชีแนะและขยายประสบการณ์ของเด็ก
3. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าเรื่องควาพรอมของร่างกาย
 Arnold Gesell
-เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
-ความพร้อม วุฒิภาวะของเดกแต่ละคนไม่เท่ากัน
-เด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้อย่างรวดเร็ว
4. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าเรื่องภาษาติตัวมาแต่เกิด
 Noam chomsy
-กรรียนรู้ภาษาขึนแยู่กับวุฒิภาวะ
 O.hobart mowreh
 -คิดค้นทฤษฏีความพึงพอใจ  ความสามารถในการฟังและความพลิดเพลินจากการได้ยินเสียงผู้อื่นและเสียงตัวเองเปนสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษา

แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
-เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
-นำไปสู่การกำหนดกระบวกการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน
 Richard and Rodyer 
ได้แบ่งมุมมองภาษาในการจัดประสบการณ์ 3 กลุ่ม
1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
3.มุมมองดานปฏิสัมพันธ์
มีกิจกรรมในชัวโมงเรียน คือ ให้นักศึกษาทุกคนวาดรูปในสิ่งที่รักที่หวงมาตั่งแต่เด้ก แล้ว เอาไปโชว์ พร้อมทั้งอธิบายให้เพื่อนๆฟัง ถึงเหตุผลที่เลือกตัวนั้นมำไมถึงชอบ
สิ่งที่รักของฉันตอนเด็กคือ ตุ๊กตาสุนัข ที่แม่ซื้อให้  ตอนนี้ไม่อยู่แล้ว
การนำไปใช้ประโยชน์

1. นำความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาด้านการเรียนรู้ของตนเอง
2. นำสิ่งที่ได้เรียน ที่ได้ความรู้ ไปใช้กับเด็กในช่วงวัยปฐมวัย
3. เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ของเด็กเพิ่มมากขึ้น
4. เอาความรู้ที่ได้ ไปใช้กับการเรียนรู้ต่อไป

5. การรู้จักเพือนมากขึ้น 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น