วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เรียนสัปดาห์ที่ 6

เรียนครั้งที่  6

วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี 14 มิถุนายน 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13:10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40 น.



สิ่งที่ได้รับจากการเรียน

Kenneth Goodman
- เสนอแนวทางการสอนภาษแบบธรรมชาติ
-มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
-แนวทางการสอนมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก

ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
-สนใจอยากรู้อยากเห็นสิ่งรอบๆตัว
-ช่างสงสัย ช่างซักถาม
-มีความคิดสรางสรรค์และจินตนาการ
-ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
-เลียนแบบคนรอบข้าง


2. สอนภาษาแบบธรรมชาติ ( Whole language) 
ทฤษฏีที่มีอิทธิพลต่อการสอนภาษาแบบธรรมชาติ   Dewey / Vygotsky /Haliday
- เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์และการลงมือกระทำ
-เด็กเรียนรูจากกิจกรรม การเคลื่อนไหวของตนเองและการได้สัมผัสจับต้องกับสิ่งต่างๆ แล้วสร้างความรู้ขึ้นมาด้วยตนเอง
-อิทธิพลของสังคมและบุคคลอื่นๆมีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
   การสอนภาษาธรรมชาติ
-สอนแบบบูรณาการองค์รวม
-สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายสำหรับเด็ก
-สอนสิ่งใกล้ตัวเด็กและอยู่ในชิวิตประจำวัน
-สอดแทรกการฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ไปพร้อมกับการทำกิจกรรม
-ไม่เข้มงวดกับการท่อง  สะกด
-ไม่บังคับใหเด็กเขียน


หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
1. การจัดสภาพแวดล้อม
-ตัวหนังสือที่ปรากฏในห้องเรียนจะต้องมีเป้าหมายในการใชจริงๆ
-หนังสือที่ใชจะต้องเป็นหนังสือที่ใช้ภาษาที่มีความหมายและสมบูรณ์ในตัว
-เด็กมีส่วนในการจัดสภาพแวดล้อม

2. การสื่อสารที่มีความหมาย
-เด็กสื่อสารโดยมีพื้นฐานจากประสบการณ์จริง
-เด็กอ่านและเขียนอย่างมีจุดมุ่งหมาย
-เด็กได้ใช้เวลาในการอ่านและเขียนตามโอกาส

3. การเป็นแบบอย่าง
- ครูอ่านและเขียนโดยมีจุดมุ่งหมายในการใช้ให้เด็กเห็น
-ครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กเห็นว่าการอ่านเป็นเรื่องสนุก

4. การตังความคาดหวัง
-ครูเชื่อมั่นว่าเด้กมีความสามารถในการอ่านและการเขียน
-เด็กสามารถอ่าน เขียนไดดีและถูกตองยิ่งขึน

5. การคาดคะเน
-เด็กมีโอกาสที่จะลองกับภาษา
-เด็กได้คาดเดาหรือคาดคะเนคำที่จอ่าน
-ไม่คาดหวังให้เด็กอ่านและเขียนได้หมือนผู้ใหญ่

6. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
-ตอบสนองความพยายามในการใช้ภาษาของเด็ก
-ยอมรับการอ่านและการเขียนของเดก
-ตอบสนองเด็กใหเหมาะสมกับสถานการณ์

7. การยอมรับนับถือ
-เดกมีความแตกต่างระหว่างบุคคล
-เด็กได้เลือกกิจกรรมที่จะเรียนรู้ด้วยตัวเอง
-ในช่วงเวลาเดียวกันเด็กไม่จำเป็นต้องทำกิจกรรมเดียวกัน
-ไม่ทำกิจกรรมตามลำดับขั้นตอน

8. การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
-ให้เด็กรู้สึกปลอดภัยที่ใช้ภาษา
-ครูจะต้องทำให้เดกไม่กลัวที่จะขอความช่วยเหลือ
-ไม่ตราหนาเด็กว่าไม่มีความสามารถ
-เด็กมีความเชื่อมั่นว่าตนเองมีความสามารถ

บทบาทครู (นิรมล ช่างวัฒนชัย , 2541)
-ครูคาดหวังเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
-ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน การขียน
-ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกครบถ้วนของเด็ก
-ครูสร้างความสนใจในคำและสิ่งพิมพ์

การนำไปใช้ประโยชน์

1. นำความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาด้านการเรียนรู้ของตนเอง
2. นำสิ่งที่ได้เรียน ที่ได้ความรู้ ไปใช้กับเด็กในช่วงวัยปฐมวัย
3. เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ของเด็กเพิ่มมากขึ้น
4. เอาความรู้ที่ได้ ไปใช้กับการเรียนรู้ต่อไป




เรียนสัปดาห์ที่ 5

เรียนครั้งที่  5

วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี 14 มิถุนายน 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13:10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40 น.

สิ่งที่ได้รับจากการเรียน


จะนำเสนองานต่อจากสัปดาห์ที่แล้วของกลุ่มที่ยังไม่นำสนอแลว อาจารย์ก็สอน
องค์ประกอบของภาษา
1.  Phonology เสียง  -ระบบสียงของภาษา
                                -เสียงที่มนุษย์ปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมาย
                                - หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเปนคำในภาษา
2. Semantic  ความหมายของภาษาและคำศัพท์
- คือความหมายของคภาษาและคำศัพท์
-คำศัพท์บางคำสามารถมีได้หลายควมหมาย
-ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำศัพท์ต่างกัน
 3. Syntex  ไวยากรณ์ของภาษา
- คือระบบไวยากรณ์
-การเรียงรูปประโยค
4. Pragmatic การนำภาษาไปใช้
- คือระบบการนำไปใช้
-ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์แลกาลเทศะ
แนวคิดนักการศึกษา
1. แนวคิของกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฏี  Skinner
 -สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา
-ให้ความสำคัญกับสิ่งราแลการตอบสนอง
 Jone B.watson
-ทฤษฏีการวางงื่อนไขแบบคลาสสิค
-การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเดกเปนสิ่งที่สามารถกระทำไดและผูใหญ่สามารถจะวางงื่อนไขใหเด็กเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ไดทุกพฤติกรรม
สรุปแนวคินักพฤติกรรมนิยม  เชื่อว่า
-ภาษาเปนกระบวนการภายในของมนุษย์
-การเรียนภาษาเปนผลจากการปรับพฤติกรรมโดยสิ่งแวดล้อม
-เด็กเกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาาา
-เดกจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรม เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบตัว
-เมื่อไรับแรงเสริมจะทำให้เด็กลือนแบบตัวแบบมากขึน
2. แนวคิดกลุ่มพัฒนาทางสติปัญญา
Piaget
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฏฺสัมพันธ์กับสิ่งแวล้อม
-ภาษาเปนสิ่งที่แสดงให้เห็นระดับพัฒนาการสติปัญญา
Vygotsky
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
-สังคม บุคคลรอบข้าง มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
-เนนบทบาทของผู้ใหญ่
-ผู้ใหญ่ช่วยชีแนะและขยายประสบการณ์ของเด็ก
3. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าเรื่องควาพรอมของร่างกาย
 Arnold Gesell
-เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
-ความพร้อม วุฒิภาวะของเดกแต่ละคนไม่เท่ากัน
-เด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้อย่างรวดเร็ว
4. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าเรื่องภาษาติตัวมาแต่เกิด
 Noam chomsy
-กรรียนรู้ภาษาขึนแยู่กับวุฒิภาวะ
 O.hobart mowreh
 -คิดค้นทฤษฏีความพึงพอใจ  ความสามารถในการฟังและความพลิดเพลินจากการได้ยินเสียงผู้อื่นและเสียงตัวเองเปนสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษา

แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
-เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
-นำไปสู่การกำหนดกระบวกการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน
 Richard and Rodyer 
ได้แบ่งมุมมองภาษาในการจัดประสบการณ์ 3 กลุ่ม
1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
3.มุมมองดานปฏิสัมพันธ์
มีกิจกรรมในชัวโมงเรียน คือ ให้นักศึกษาทุกคนวาดรูปในสิ่งที่รักที่หวงมาตั่งแต่เด้ก แล้ว เอาไปโชว์ พร้อมทั้งอธิบายให้เพื่อนๆฟัง ถึงเหตุผลที่เลือกตัวนั้นมำไมถึงชอบ
สิ่งที่รักของฉันตอนเด็กคือ ตุ๊กตาสุนัข ที่แม่ซื้อให้  ตอนนี้ไม่อยู่แล้ว
การนำไปใช้ประโยชน์

1. นำความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาด้านการเรียนรู้ของตนเอง
2. นำสิ่งที่ได้เรียน ที่ได้ความรู้ ไปใช้กับเด็กในช่วงวัยปฐมวัย
3. เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ของเด็กเพิ่มมากขึ้น
4. เอาความรู้ที่ได้ ไปใช้กับการเรียนรู้ต่อไป

5. การรู้จักเพือนมากขึ้น 

วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เรียนสัปดาห์ที่ 4

เรียนครั้งที่  4
วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี 14 มิถุนายน 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13:10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40 น.


สิ่งที่ได้รับจากการเรียน

สัปดาห์นี้จะเสนองานที่ให้ทำโดยแบ่งเป็นกลุ่ม 

กลุ่มที่ 1 ภาษาของเด็กปฐมวัย
เด็กจะเรียนรู้โดยผ่านการเล่นตามธรรมชาติในตัวเด็ก จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก และจากสิ่งที่ได้เห็น
กลุ่มที่ 2  แนวคิดของนักทฤษฏีทางภาษาของเด็กปฐมวัย
Chomsky  นักจิตวิทยาทางด้านภาษาและนักภาษาศาสตร์ ได้ศึกษาพบว่าเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการ ทางภาษาที่ค่อนข้างจะรวดเร็ว มีลักษณะที่พิเศษที่จะส่งเสริมให้เรียนรู้ภาษาได้อย่างรวดเร็ว ได้แก่การมีแรงจูงใจตนเองที่จะใช้ภาษาเพื่อสื่อสารกับบุคคลรอบข้าง จะเห็นได้ว่าเด้กจะสนใจถามอยู่ตลอดเวลาว่าสิ่งที่เขาเห็นนั่นคืออะไร
เพียเจท์  ได้เสนอแนวคิดไว้ว่า เด็กๆเกิดการเรียนรู้ได้โดยการมีส่วนร่วมและการลงมือปฏิบัติในกิจกรรมต่างๆ  ได้เคลื่อนไหวตนเองในกิจกรรม ได้สัมผัสกับสิ่งแวดล้อม ได้คิดด้วยตนเอง และเกิดการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการพัฒนาภาาาจากกิจกรรมต่างๆ
ไวกอตสกี้ กล่าวว่า เด้กเกิดการเรียนรู้ภาษาตนเองจาการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสภาพแวดล้อมรอบๆตัวเด็ก  เกิดการเรียนรู้ผ่านการเล่น และเข้าร่วมกิจกรรม การช่วยเหลือและลงมือปฏิบัติอย่างเป็นขั้นเป็นตอนจากการใช้สัญลักษณ์ต่างๆได้ เกี่ยวกับการเล่นและกิจกรรมต่างๆ
จอร์น ดิวอี้  กล่าวว่า การเรียนรู้ภาษาของเด็กเกิดจากการมีประสบการณ์ตรงลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง เรียกว่า ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้
ฮอลลิเดย์ กล่าวว่า จากการที่เด็กได้มีประสบการณ์ตรงลงมือปฏิบัติจริง มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก ได้ใช้ภาษาที่เกี่ยวข้องกับการร่วมกิจกรรมทำให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาภาาา ทำให้อ่านออกเขียนได้ผ่านกระบวนการคิดและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
กลุ่มที่ 3พัฒนาการทางสติปัญญาเด็กแรกเกิด-2ปี
ทารกแรกเกิด : ลูกจะใจจดใจจ่อ อยู่กับใบหน้าของคุณ
อายุ 4 สัปดาห์ : ทารกจะเฝ้ามองคุณและพยายามเลียนแบบ
อายุ 6 สัปดาห์ : ทารกจะยิ้มไล่หลังคุณไป
อายุ 3 เดือน : จะชอบมองของเล่นที่แขวนให้ดู
อายุ 4 เดือน : จะแสดงอารมณ์และความรู้สึก
อายุ 5 เดือน : เริ่มเข้าใจสิ่งปกติ
อายุ 6 เดือน : จะเริ่มสนใจในกระจกเงา และเริ่มชอบอาหาร
อายุ 8 เดือน : จะรู้จักชื่อของตนเอง และรู้จักคำว่า ไม่
อายุ 9 เดือน : จะเริ่มแสดงความสนใจ
อายุ 15 เดือน : จะรู้จักความหมายของการหอมแก้ม
2 ปี : เด้กจะชอบอยู่ตามลำพัง กับของเล่น
กลุ่ม 4 พัฒนาทางสติปัญญา 2-4 ปี
เพียเจท์ กล่าวไว้ว่า พัฒนาการของเด็กเป็นไปตามขั้นตอน อย่าไปเร่งรัดเด้ก เพราะจะเป็นการปิดกั้นเดก เด้กจะมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน และมีการโต้ตอบกับคนแปลกหน้าได้
กลุ่ม 5 เด็ก 4-6 ปี
ช่วงที่มีการพัฒนา เริ่มมีการรับรู้ และสังเกต ชอบถาม จะเข้าใจคำถามและคำตอบที่ง่ายๆ สามารถใช้ภาษาสื่อสารได้ดี แต่ไม่ค่อยกล้าแสดงออก
กลุ่ม 6 ทฤษฏี จิตวิทยาการเรียนรู้
การเรียนรู้คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอันเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์และต้องอาศัยวุฒิภาวะ
ประสบการณ์ตรง คือ การพบเจอและสัมผัสด้วยตนเอง
ประสบการณ์ทางอ้อม คือ ได้มาจากการรับรู้จากบุคคลอื่น
เด็กจะเรียนรู้จากสิ่งรอบข้างและพูดตามสิ่งที่เข้าใจ
กลุ่ม 7 วิธีการเรียนรู้ของเด้กปฐมวัย
การเรียนรู้ของเด็กเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เกิดจากการทำงานของโครงสร้างทางปัญญา จะมาจากการสัมผัส การช่วยเหลือตนเอง การได้จับสิ่งของ
กลุ่ม 8   -
กลุ่ม 9 องค์ประกอบภาษาด้านภาษา
องค์ประกอบภาษาคือ เสียงกับการอ่าน
เสียง คือ สิ่งที่คนเราเปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมายในสิ่งที่ต้องการ ในวัยปฐมวัยจะแสดงออกด้วยการออกเสียง  อ๊อแอ๊ เพื่อให้รู้ว่าเขามีความต้องการ
การอ่าน คือ การรับรู้ข้อความ อ่านเพื่อเข้าใจและรับรู้ความหมายจากเครื่องหมายหรือสัญลัษณ์ต่างๆและอย่าไปบังคับให้เด้กอ่าน
ไวยากาณ์ คือ การประสมคำให้เป็นประโยค
ความหมาย คือ เด็กจะพูดและเข้าใจในความหมายของตน และยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางในความหมายนั้นๆ จะตีความหมายของคำได้
กลุ่ม 10 หลักการจัดประสบการณ์เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย
เด้กจะเน้นเรื่องทักษะและไวยากรณ์ คิดให้เป็นธรรมชาติ  แสดงออกและสอนเป็นธรรมชาติ อย่าพึ่งไปเน้นกับเด้ก  การจะพาเด็กเรียนต้องทำให้เขารู้จักจัวของเขาก่อน อย่าไปคาดหวังเด้กให้มีพัฒนาการเหมือนกันทังห้อง เพราะเด็ดทุกคนมีความแตกต่างกัน การใช้คำถามกับเด้กเป็นการบ้านให้เด็กได้กลับไปถามพ่อแม่  จะได้เรื่องการสื่อสาร
รูปแบบการสอนคือ การอ่าน
1. อ่านอิสระ อ่านตามลำพัง
2.อ่านร่วมกันเป็นกลุ่มใหญ่เพื่อให้เด็กเข้าใจในสิ่งที่อ่าน
  อย่าไปคาดหวังการเขียนของอนุบาลเหมือนวัยประถมฃ


การนำไปใช้ประโยชน์


1. นำความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาด้านการเรียนรู้ของตนเอง
2. นำสิ่งที่ได้เรียน ที่ได้ความรู้ ไปใช้กับเด็กในช่วงวัยปฐมวัย

3. เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ของเด็กเพิ่มมากขึ้น
4. เอาความรู้ที่ได้ ไปใช้กับการเรียนรู้ต่อไป


วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เรียนสัปดาห์ที่ 3


เรียนครั้งที่  3

วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี 14 มิถุนายน 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13:10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40 น.


ในสัปดาน์นี้เป็นกิจกรรมรับน้องพอดี เลยไม่มีการเรียน การสอนค่ะ




รูปภาพเกี่ยวกับกิจกรรมการรับน้อง

เรียนสัปดาห์ที่2


เรียนครั้งที่  2

วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี 14 มิถุนายน 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13:10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40 น.


สิ่งที่ได้รับจากการเรียน


ความหมายของภาษา
ภาษาคือการสื่อความหมาย ภาษาเป็นเครืองมือในการแสดงความคิดและความรู้สึก
ความสำคัญของภาษา
1. ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
2. ภาษาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความเขาใจันดีต่อกัน
3. ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
4. ภาษาเป็นเครื่องมือช่วยจรรโลงจิตใจ

ทักษะทางภาษาประกอบด้วย การฟัง การพูด การอ่าน แลการเขียน

ทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget 
การที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาทางด้านภาษาและสติปัญญา
กระบวนการเรียนรู้ 2 กระบวนการ คือ
1. การดูดซึม (Assimilation) เป็นกระบวนการที่เด็กได้รู้ และดูดซึมภาพต่างๆจากสิ่งแวดล้อมด้วยประสบการณ์ของตัวเอง
2. การปรับความเข้าใจเดิมให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ (Accommodation) เป็นกระบวนการที่เกิดควบคู่ไปกับการดูดซึมโดยการปรับความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับ
เมื่อเกิดการดูดซึมและการปรับความเข้าใจ จะเกิดความสมดุล ( Equilibrium )กลายเป็นความคดรวบยอดในสมอง
 Piaget  ได้แบ่งพัฒนาการด้านสติปัญญา ซึ่งมีความสัมพันธ์ กับการใช้ภาษา ดังนี้
1. ขั้นพัฒนาการทางด้านประสาทสัมผัส (Sensorimotor Stage)
แรกเกิด-2ปี เด็กเรียนรู้จากประสาทสัมผัสต่างๆ เดกเรียนรูคำศัพท์จากสิ่งแวดลม บุคคลรอบตัว เด็กสนใจฤสิ่งที่อย่รอบตัวก่อนที่จะเรียนรู้ภาษา
2. ขันเตรียมการความคิดที่มีเหตุผล ( Preoperational Stage) 
2.1 อายุ 2-4 ปี ( Precoceptual Period ) เด็กเริ่มใช้ภาษาและสัญลักษณ์ในการสื่อสาร เล่นบทบาทสมมติ การเล่าเร่อง แสดงความรู้สึกผ่านสีหน้า บอกชื่อสิ่งต่างๆรอบตัว ภาษาของเด็กมีลักษณะยึดตัวองเป็นศูนย์กลาง จะใช้ภาษาหรือสัญลักษณ์แสดงออกโดยคิดว่าผู้อื่นคิดเหมือนตน
2.2 อายุ 4-7 ปี ( Intuitive Period) 
ใช้ภาษาในการสื่อสารได้ดีกับคนรอบข้าง ให้ความสนใจกับสิ่งที่เป็นนามธรรมได้บ้าง ยังยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง รู้จักสร้างมโนทัศน์โดยอาศัยการจัดกลุ่มวัสดุ สามารถเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งของ
3. ขั้นการคิดแบบรูปธรรม อายุ 7-11 ปี 
เด็กสามารถแก้ปัญหาได้โดยใช้เหตุผลที่เป็นรูปธรรม
4. ขั้นการคิดแบบนามธรรม 11-15 ปี
เด็กคิดด้วยเหตุผลอย่างเป็นระบบ ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา ข้าใจกฏเกณฑ์ของสังคม สร้างมโนทัศน์ให้สัมพันธ์กับนามธรรม
พัฒนาการทางภาาาของเด็ก
เด็กจะค่อยๆสร้างความรู้และความเข้าใจ เป็นลำดับขั้น ครูและผู้สอนต้องมีความเขาใจและยอมรับหากพบว่าเด้ก ใช้คำศัพท์หรือไวยากรณ์ ไม่ถูกตอง ควรมองว่านั้นเป็นกระบวนการเรียนรู้ ภาษาของเด็ก

การนำไปใช้ประโยชน์


1. นำความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาด้านการเรียนรู้ของตนเอง
2. นำสิ่งที่ได้เรียน ที่ได้ความรู้ ไปใช้กับเด็กในช่วงวัยปฐมวัย

3. เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ของเด็กเพิ่มมากขึ้น
4. เอาความรู้ที่ได้ ไปใช้กับการเรียนรู้ต่อไป

วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เรียนสัปดาห์ที่ 1

เรียนครังที 1

วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

วัน/เดือน/ปี 14 มิถุนายน 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13:10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40 น.


สิ่งที่ได้รับจากการเรียน


1. ได้ทำ  mind mappimg เป็นกลุ่ม ได้รู้จักความสามัคคี

2. ได้รู้ทักาะทางภาษาของเด็กปฐมวัยมากขึ้น
3. ได้รู้จักบล็อก และประโยชน์การเก็บงานผ่านบล็อก
4. ได้สร้างบล็อก ได้รู้วิธีการสร้าง


การนำไปใช้ประโยชน์



1. นำความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาด้านการเรียนรู้ของตนเอง
2. นำสิ่งที่ได้เรียน ที่ได้ความรู้ ไปใช้กับเด็กในช่วงวัยปฐมวัย
3. การสร้างบล็อกเพื่อประโยชน์ในการใช้งาน

4. ความสามัคคีในการทำงานเป็นกลุ่ม