วันอาทิตย์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2556

เรียนสัปดาห์ที่16

บันทึกอนุทิน



วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถินวัน/เดือน/ปี 27  กันยายน พ.ศ. 2556ครั้งที่ 16  เวลาเรียน 13.10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40น.

- วันนี้อาจารย์ให้ทำ มายแม็ม เกี่ยวกับความรู้ที่ได้รับจากการเรียนในรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย ว่าได้อะไรบ้างจากการเรียน ตั้งแต่ต้นจนถึงปิดคอร์ดอยากจะบอกว่าได้ความรู้เยอะแยะมากมายในการเรียนในรายวิชานี้อาจารย์สอนเข้าใจมากและชอบเปิดเพลงให้ฟังมีความสุขมากในการทำงานและชอบให้นักศึกษากล้าที่จะแสดงออกในหน้าชั้นเรียน

ความรู้ที่ได้รับ

1. ได้ประโยชน์ในการนำไปใช้ในอนาคตได้ ได้รู้เทคนิคการทำสื่อมากมายรู้จักการทำแผนการสอน

2. รู้จักที่จะกล้าแสดงออกเวลาทำงานต่างๆ

เรียนสัปดาห์ที่15

บันทึกอนุทิน



วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 20  กันยายน พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 15 เวลาเรียน 13.10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40น.

 -วันนี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มทำงานให้เท่าๆกันแล้วช่วยกันเขียนแผนการสอน


สิ่งที่ได้รับจาการเรียน                            


-ได้รู้ว่าแผนการสอนมีขั้นตอนในการเขียนแบบใด การนำเสนอ สื่อออกมาในรูปแบบประเภทไหนเด็กถึงจะเข้าใจและที่สำคัญจะต้องเขียนตัวหนังสือที่ถูกต้องสวยงามเพื่อให้เด็กเข้าใจง่ายและชัดเจน
ความรู้ที่ได้รับ                                                                                                                                                                                               
1.ได้รู้เทคนิคใหม่ๆในการทำงาน
2.ได้ความรู้มากมายในการทำแผนการสอนว่ามีขั้นตอนในการทำงาน
3.ได้รู้จักการกล้าแสดงออกในหน้าชั้นเรียน
กลุ่มของดิฉันออกเสนอผลงาน

เรียนรู้เรื่องกบ


อาจารย์อธิบายงาน

เรีรยนสัปดาห์ที่ 14

บันทึกอนุทิน



วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 13  กันยายน พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 14 เวลาเรียน 13.10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40น.


ในวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาจับกลุ่ม ทำงานจัดมุมการศึกษาอะไรก็ได้ลงในกระดาษแผ่นใหญ่ที่อาจารย์เตรียมมาให้ ซึ่งอาจารย์ก็เตรียมอุปกรณ์มาให้นักศึกษาทุกคน ซึ่งกลุ่มของดิฉันทำ มุมดนตรี ก็คือแบ่งออกเป็น2มุมย่อยในกระดาษคือ ดนตรีไทยและดนตรีสากล ก็จะอธิบายประมาณว่าดนตรีไทยและสากลมีอะไรบ้าง กลุ่มของเราก็วาดรูปเครื่องดนตรีพร้อมจัดองค์ประกอบเป็นประมาณว่าเป็นโรงเรียนดนตรี มีเด็กๆมากมาย มีห้องสมุดเกี่ยวกับเรื่องของเครื่องดนตรี อาจารย์ได้บอกไว้ว่าเมื่อทำงานเสร็จเมื่อไร ก็ให้ส่งตัวแทนแต่ล่ะกลุ่มออกมานำเสนองานของกลุ่มตัวเองด้วยนั้นเอง
เครื่องดนตรีไทย-สากลของกลุ่มดิฉัน

บรรยากาศภายในห้อง

เพื่อนๆตั้งใจทำงาน

สมาชิกในกลุ่มสู้ๆ

เรียนสัปดาหืที่13

บันทึกอนุทิน


วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 6 กันยายน พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 13 เวลาเรียน 13.10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40น.

การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษา
  • สร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กคุ้นเคยกับการใช้ภาษาอย่างมีความหมายและเป็นองค์รวม
  • เด็กได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางภาษาโดยไม่เน้นเนื้อหาทางภาษา
หลัการ
  • สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กสำรวจปฏิบัติจริง เป็นผู้กระทำด้วยตนเองเปิดโอกาสให้เด็กเป็นอิสระ ได้สังเกตและตั้งสมมุติฐาน
  • สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กและบุคคลรอบข้าง  เด็กควรได้สื่อสองทาง
  • สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบ  ควรยอมรับการสื่อสารของเด็กในรูปแบบต่างๆ  โดยคำนึงความหมายที่เด็กต้องการสื่อมากกว่าความถูกต้องทางไวยกรณ์
  • สิ่งแวดล้อมประกอบด้วยความหลากหลายทั้งด้านวาจาและไม่ใช่วาจา  เด็กควรได้รับการมีประสบการณ์และปฏิสัมพันธ์หลายๆแบบ
มุมประสบการณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษา
  • มุมหนังสือ
  • มุมบทบาทสมมุติ
  • มุมศิลปะ
  • มุมดนตรี
  • ฯลฯ
ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมทักษะภาษา
  • มีพื้นที่ให้เด็กสามารถทำกิจกรรมได้
  • เด็กรู้สึกผ่อนคลายเมื่ออยู่ในมุม
  • บริเวณใกล้ๆมีอุปกรณ์เครื่องเขียน เช่น ดินสอ  สี  กระดาษ  กรรไกร  กาว
  • เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน  ออกแบบ
มุมหนังสือ
  • มีชั้นวางหนังสือประเภทต่างๆที่เหมาะสมกับวัย
  • มีบรรยากาศที่ สงบ และอบอุ่น
  • มีพื้นที่ในการอ่านลำพัง  และเป็นกลุ่ม
  • มีอุปกรณ์สำหรับการเขียน
มุมบทบาทสมมุติ
  • มีสื่ออุปกรณ์ที่สามารถให้เด็กเข้าไปเล่น
  • มีพื้นที่ที่เพียงพอ
มุมศิลปะ
  • จัดอุปกรณ์ที่หลากหลาย  เช่น สีเมจิก  ดินสอ  ยางลบ  ตรายาง  ซองจดหมาย ฯลฯ
  • กรรไกร  กาว  สำหรับงานตัดและปะติด
มุมดนตรี
  • มีเครื่องดนตรีทั้งที่เป็นของเล่นและของจริง  เช่น  กลอง  ฉิ่ง  ระนาด  ขลุ่ย  กรับ  เครื่องเคาะจังหวะ
ประโยชน์จากการเรียนครั้งนี้ 
              สามารถเป็แนวทางในการจัดห้องเรียนให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้ทักษะทางภาษาได้เป็นอย่างดี และเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านภาษาอีกด้วย
-ท้ายคาบอาจารย์ให้คัดพยัญชนะส่ง

ความรู้ที่ได้รับ

1. ได้รู้จักมุมแต่ละอย่างว่ามีรูปแบบอย่างไร
2. ได้รู้จักการคัดพยัญขนะที่ดีก่อนไปฝึกสอนต้องมีรูปแบบอย่างไร
3. ได้ความรู้เพิ่มเติมเพื่อไปใช้ในอนาคต

เรียนสัปดาห์ที่ 12

บันทึกอนุทิน



วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 12 เวลาเรียน 13.10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40น.
วันนี้อาจารย์ให้ทำสื่อโดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ให้ออกแบบสื่อที่พัฒนาทักษะทางภาษาของเด็กปฐมวัย เมื่อออกแบบเสร็จแล้วอาจารย์ก็ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอสื่อของตัวเองว่าสื่อที่เราออกแบบชื่อสือว่าอะไร  มีวิธีเล่นอย่างไร และประโยชน์ของสื่อ 

กลุ่มออกไปเสนอผลงาน


ตั้งใจทำงานกัน

บรรยากาศในห้องเรียน

การแบ่งกลุ่มกัน

เรียนสัปดาห์ที่ 11

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 23 สิงหาคม .. 2556

ครั้งที่ 11เวลาเรียน 13.10 เวลาเข้าสอน 13:10 เวลาเลิกเรียน 16:40.

วันนี้อาจารย์ให้ดูภาพ แล้วให้บอกว่าดูภาพแล้วให้วิเคราะห์ว่ามันเป็นภาพอะไรให้สื่อความหมายออกมา
อีดอก

สื่่อการเรียนรู้ทางภาษา


ความหมาย วัสดุหรือวิธีการต่างๆ เพื่อกระตุ้น ส่งเสริม จูงใจทำให้เด็กมุ่งความสนใจมาที่ตัวเรา ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรูู้ทางภาษาหรือเครื่องมือที่ครูกำหนดขึ้น เพื่อถ่ายทอดแลกดปลี่ยนเนื้อหาประสบการณ์ แนวคิด ทักษะะ และเจตคติ

สื่อที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย เด็กได้เรียนรู้จากประสาทสัมผัส เข้าใจง่าย เป็นรูปธรรม จำได้ง่าย เร็ว  และนาน

ประเภทของสื่อการสอน
       1.สื่อสิ่งพิมพ์ ใช้ในระบบการพิมพ์ เด็กได้เรียนรู้ตัวอักษร การใช้คำ ประโยค ยกตัวอย่างเช่น หนังสือนิทาน หนังสือพิมพ์ ป้ายต่างๆ  หรือแบบฝึกหัดสำหรับเด็ก
       2.สื่อวัสดุอุปกรณ์ สิ่งของต่างๆ กระเป๋าที่เป็นทั้งของจริง หุ่นจำลอง แผนที่ แผนภูมิ สมุด หุ่นมือ ถือว่ามีประโยชน์ต่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นอย่างยิ่ง
       3.สื่อโสตทัศน์อุปกรณ์ สื่อที่เป็นเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับทางอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นแผ่น
       4.สื่อกิจกรรม ฝึกปฏิบัติ ทักษะ ได้ใช้กระบวนการคิด ได้เผชิญสถานการณ์ เช่น การร้องเพลง การเล่นละคร บทบทาสมมุติสำหรับเด็ก
       5.สื่อบริบท เพื่อส่งเสริมการจัดประสบการณ์ในสภาพแวดล้อมที่เด็กอยู่ เช่น ชุมชน ครอบครัว โรงเรียน วัฒนธรรม เด็กที่อยู่ในท้องที่ ที่แตกต่างกัน ก็จะมีสื่อบริบทที่แตกต่างกันออกไป 

ความรู้ที่ได้รับ

1. ได้ทำงานที่รับมอบหมายทันเวลาและได้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างสรรค์์งาน เป็นรูปต่างๆ
2. รู้จักเสียงดนตรีว่ามีอะไรบ้างและเสียงสัตว์ต่างๆทำให้ฝึกการฟังของเด็ก
3. สามารถนำไปปรับใช้ ประยุกต์ใช้กับสื่ออื่นๆอีกได้หลายวิธีการตามความคิดและจินตนาการของแต่ละ
   บุคคล
 *** หลังจากที่สอนเสร็จ อาจารย์ก็ให้ทำกิจกรรม โดยแจกกระดาษและสีให้นักศึกษา ให้วาดรูปอะไรก็ได้พร้อมระบายสีให้สวยงาม ตามด้วยภาษาอังกฤษ ***

วันพุธที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2556

เรียนสัปดาห์ที่ 10

แบ่งกลุ่มกันเพื่อทำกิจกรรม
เรียนครั้งที่  10


วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี 14 มิถุนายน 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13:10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40 น.



สิ่งที่ได้รับจากการเรียน

อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มออกเป็น  4  กลุ่ม  ในการทำตัวการ์ตูนต้อนรับอาเซียน โดยจะมี  การทำหุ่นนิ้ว  การทำธงอาเซียน  ป็อปอัพรูปสัตว์  และ  ธงจับคู่อาเซียน  โดยที่ฉันได้อยู่กลุ่ม  ที่  3  คือ  ทำป็อปอัพ รูปสัตว์
อาจารย์ช่วยดูงาน


การนำไปใช้ประโยชน์

1. นำความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาด้านการเรียนรู้ของตนเอง
2. นำสิ่งที่ได้เรียน ที่ได้ความรู้ ไปใช้กับเด็กในช่วงวัยปฐมวัย
3. เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ของเด็กเพิ่มมากขึ้น

4. เอาความรู้ที่ได้ ไปใช้กับการเรียนรู้ต่อไป
5. ได้รู้วิธีการทำป็อปอัพเพื่อนำไปใช้ในอนาคต
เพื่อนๆ ต่างตั้งใจทำงานกัน
ช่วยกันทำความสะอาดหลังทำกิจกรรม

วันพฤหัสบดีที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556

เรียนสัปดาห์ที่ 9

เรียนครั้งที่  9



วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี 14 มิถุนายน 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13:10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40 น.



สิ่งที่ได้รับจากการเรียน

ในการเรียนครั้งนี้ ได้ทำกิจกรรม  ร่วมกันภายในกลุ่ม  โดย ได้ช่วยกันแต่งนิทานขึ้นมา  แล้วก๊แบ่งกลุ่ม รับผิดชอบ งาน  ในการ วาดภาพ  และ  ระบายสี  แบ่งตามเนื้อหาของเรื่อง
หรือ งาน ที่เลือกว่า    Big Book 



 เรื่องบทเรียนของกระต่ายน้อย

มีครอบครัวกระต่ายอยู่ครอบครัวหนึ่ง สร้างบ้านอยู่ในทุ่งหญ้าสีเขียวครอบครัวกระต่ายประกอบด้วย พ่อ แม่และมีลูกกระต่าย 2 ตัว และลูกกระต่ายชอบแย่งแครอทกัน น้องชายแย่งแครอทของพี่ และพี่ก็ยอมเสียสละให้น้องเสมอเพราะเชื่อฟังที่พ่อแม่สอน แต่น้องก็เอาแต่ใจเกินไปต้องให้พี่ยอมน้องทุกเรื่อง แต่แล้ววันหนึ่งมีกระรอกตัวหนึ่งมาแย่งแครอทของน้องกระต่ายไป น้องก็เลยได้แต่นั่งร้องไห้ พี่กระต่ายเลยนำแครอทของตนเองมาให้กับน้อง น้องเกิดความสงสารทำไมพี่ถึงเอ าแครอทมาให้และพี่ก็บอกว่าเราเป็นพี่น้องกันก็ต้องแบ่งบัน น้องกระต่ายเลยหักแครอทแบ่งกับพี่คนละครึ่งแล้วจากนั้นน้องกระต่ายก็ไม่เอาแต่ใจตนเองอีกเลย


สมาชิกในกลุ่มของฉันช่วยกันทำงาน
งานของทุกกลุ่ม ที่ออกมาเสร็จแล้ว

นั่งฟังอาจารย์อธิบายงาน

ปรึกษากันในกลุ่ม

โชว์งานของทุกกลุ่ม ก่อนเข้าเล่ม

งานของกลุ่มฉัน

การนำไปใช้ประโยชน์

1. นำความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาด้านการเรียนรู้ของตนเอง
2. นำสิ่งที่ได้เรียน ที่ได้ความรู้ ไปใช้กับเด็กในช่วงวัยปฐมวัย
3. เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ของเด็กเพิ่มมากขึ้น
4. เอาความรู้ที่ได้ ไปใช้กับการเรียนรู้ต่อไป



เรียนสัปดาห์ที่ 8



เรียนครั้งที่  8


ไม่มีเรียนค่ะ  สอบ

วันพุธที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556

เรียนสัปดาห์ที่ 7




เรียนครั้งที่  7

วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี 14 มิถุนายน 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13:10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40 น.



กรรไกร คือรูปที่ดิฉันวาดเอง
สิ่งที่ได้รับจากการเรียน

1. ให้ทำกิจกรรมก่อนเรียนเพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียน  กิจกรรม คือ  การให้ นักศึกษาทุกคน วาดรุป อะไรก็ได้ ตามใจชอบ  แล้วพอวาดเสร็จแล้ว  ก้อให้เอารูปที่ทุกคนวาด  ไปเล่าเป็นนิทานแบบต่อเนื่อง  โดยที่รูปของเราจะต้องตรงกับเนื้อหา  นิทาน ที่เพื่อนๆส่งต่อกันมา  โดยที่เราจะเล่าให้ รูปที่เราวาด กับเรื่องราวการ์ตูนที่เพื่อนส่งต่อมา  ให้สัมพันธ์กัน



รูปที่เพื่อนวาด  แล้วออกมาสวย

2. การประเมิน
1) ใช้เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย
 2 ) เน้นที่ความก้าวหน้าของเด็ก
- บันทึกสิ่งที่เด็กทำได้
-ทำให้สามารถส่งเสริมเด็กให้ก้าวไปสู่พัฒนาการทางภาษาในระดับที่สูงข้น

หัวข้อการประเมิน


3. การประเมินจากบริบทที่หลากหลาย
4. ให้เด็กมีโอกาสประเมินตนเอง
5. ครูให้ความสนใจทั้งกระบวนการและผลงาน
6. ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล
ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมทักษะทางภาษา
- การเขียนตามคำบอกของเด็ก
-ช่วยเด็กเขียนบันทึก
- อ่านนิทานร่วมกัน
- เขียนประกาศเพื่อแจ้งข่าวเตือนความจำ
- อ่านคำคล้องจอง
- ร้องเพลง
- เล่าสู่กันฟัง
- เขียนส่งสารถึงกัน


อ. ตฤน กำลังสอน
การนำไปใช้ประโยชน์
1. นำความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาด้านการเรียนรู้ของตนเอง
2. นำสิ่งที่ได้เรียน ที่ได้ความรู้ ไปใช้กับเด็กในช่วงวัยปฐมวัย
3. เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ของเด็กเพิ่มมากขึ้น
4. เอาความรู้ที่ได้ ไปใช้กับการเรียนรู้ต่อไป

วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เรียนสัปดาห์ที่ 6

เรียนครั้งที่  6

วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี 14 มิถุนายน 2556
ครั้งที่ 1 เวลาเรียน 13:10 น. เวลาเข้าสอน 13:10 น. เวลาเลิกเรียน 16:40 น.



สิ่งที่ได้รับจากการเรียน

Kenneth Goodman
- เสนอแนวทางการสอนภาษแบบธรรมชาติ
-มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
-แนวทางการสอนมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก

ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
-สนใจอยากรู้อยากเห็นสิ่งรอบๆตัว
-ช่างสงสัย ช่างซักถาม
-มีความคิดสรางสรรค์และจินตนาการ
-ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
-เลียนแบบคนรอบข้าง


2. สอนภาษาแบบธรรมชาติ ( Whole language) 
ทฤษฏีที่มีอิทธิพลต่อการสอนภาษาแบบธรรมชาติ   Dewey / Vygotsky /Haliday
- เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์และการลงมือกระทำ
-เด็กเรียนรูจากกิจกรรม การเคลื่อนไหวของตนเองและการได้สัมผัสจับต้องกับสิ่งต่างๆ แล้วสร้างความรู้ขึ้นมาด้วยตนเอง
-อิทธิพลของสังคมและบุคคลอื่นๆมีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
   การสอนภาษาธรรมชาติ
-สอนแบบบูรณาการองค์รวม
-สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายสำหรับเด็ก
-สอนสิ่งใกล้ตัวเด็กและอยู่ในชิวิตประจำวัน
-สอดแทรกการฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ไปพร้อมกับการทำกิจกรรม
-ไม่เข้มงวดกับการท่อง  สะกด
-ไม่บังคับใหเด็กเขียน


หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
1. การจัดสภาพแวดล้อม
-ตัวหนังสือที่ปรากฏในห้องเรียนจะต้องมีเป้าหมายในการใชจริงๆ
-หนังสือที่ใชจะต้องเป็นหนังสือที่ใช้ภาษาที่มีความหมายและสมบูรณ์ในตัว
-เด็กมีส่วนในการจัดสภาพแวดล้อม

2. การสื่อสารที่มีความหมาย
-เด็กสื่อสารโดยมีพื้นฐานจากประสบการณ์จริง
-เด็กอ่านและเขียนอย่างมีจุดมุ่งหมาย
-เด็กได้ใช้เวลาในการอ่านและเขียนตามโอกาส

3. การเป็นแบบอย่าง
- ครูอ่านและเขียนโดยมีจุดมุ่งหมายในการใช้ให้เด็กเห็น
-ครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กเห็นว่าการอ่านเป็นเรื่องสนุก

4. การตังความคาดหวัง
-ครูเชื่อมั่นว่าเด้กมีความสามารถในการอ่านและการเขียน
-เด็กสามารถอ่าน เขียนไดดีและถูกตองยิ่งขึน

5. การคาดคะเน
-เด็กมีโอกาสที่จะลองกับภาษา
-เด็กได้คาดเดาหรือคาดคะเนคำที่จอ่าน
-ไม่คาดหวังให้เด็กอ่านและเขียนได้หมือนผู้ใหญ่

6. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
-ตอบสนองความพยายามในการใช้ภาษาของเด็ก
-ยอมรับการอ่านและการเขียนของเดก
-ตอบสนองเด็กใหเหมาะสมกับสถานการณ์

7. การยอมรับนับถือ
-เดกมีความแตกต่างระหว่างบุคคล
-เด็กได้เลือกกิจกรรมที่จะเรียนรู้ด้วยตัวเอง
-ในช่วงเวลาเดียวกันเด็กไม่จำเป็นต้องทำกิจกรรมเดียวกัน
-ไม่ทำกิจกรรมตามลำดับขั้นตอน

8. การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
-ให้เด็กรู้สึกปลอดภัยที่ใช้ภาษา
-ครูจะต้องทำให้เดกไม่กลัวที่จะขอความช่วยเหลือ
-ไม่ตราหนาเด็กว่าไม่มีความสามารถ
-เด็กมีความเชื่อมั่นว่าตนเองมีความสามารถ

บทบาทครู (นิรมล ช่างวัฒนชัย , 2541)
-ครูคาดหวังเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
-ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน การขียน
-ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกครบถ้วนของเด็ก
-ครูสร้างความสนใจในคำและสิ่งพิมพ์

การนำไปใช้ประโยชน์

1. นำความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาด้านการเรียนรู้ของตนเอง
2. นำสิ่งที่ได้เรียน ที่ได้ความรู้ ไปใช้กับเด็กในช่วงวัยปฐมวัย
3. เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ของเด็กเพิ่มมากขึ้น
4. เอาความรู้ที่ได้ ไปใช้กับการเรียนรู้ต่อไป